แนะนำเครื่องมือวัดพลังงานไฟฟ้า Energy Meter EasyLogic รุ่น METSEPM2230 จาก Schneider Electric
Energy Meter EasyLogic รุ่น METSEPM2230 หรือ PM2230 จาก Schneider Electric นำเข้าโดย บริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (ไทยแลนด์) จํากัด เพื่อจำหน่ายผ่านตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทย เป็นเครื่องมือวัดพลังงานไฟฟ้าตระกูล EasyLogic สามารถวัดว่าคุณภาพไฟฟ้าได้ เช่น ฮาร์โมนิก สูงสุดลำดับที่ 31 Harmonic (Max. order 31) และค่า ฮาร์โมนิกรวม THD
ค่าไฟฟ้าที่มิเตอร์ PM2230 สามารถวัดได้
- กำลังไฟฟ้าจริง Active power P, P1, P2, P3
- กำลังไฟฟ้าปรากฏ Apparent power S, S1, S2, S3
- ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด Peak demand currents
- กำลังไฟฟ้าเสมือน หรือ กำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ Reactive power Q, Q1, Q2, Q3
- กระแสไฟฟ้าไม่สมดุล Unbalance current
- Active, reactive, apparent energy (signed, four quadrant)
- กระแสนิวตรอน Calculated neutral current
- ความต้องการไฟฟ้า Demand power P, Q, S
- Peak demand power PM, QM, SM
- กระแสไฟฟ้า Current I, I1, I2, I3
- แรงดันไฟฟ้า Voltage U, U21, U32, U13, V, V1, V2, V3
ความเที่ยงตรงของมิเตอร์ PM2230
คลาสของมิเตอร์ ตามมาตรฐานต่างๆ
- Class 0.5S (active energy according to IEC 62053-22)
- Class 1 (reactive energy according to IEC 62053-24)
- Class 5 (harmonic distorsion (I THD & U THD)
ความเที่ยงตรงในการวัด Measurement accuracy
- +/- 0.5 % active energy
- +/- 0.5 % active power
- +/- 0.5 % apparent power
- +/- 0.05 % frequency
- +/- 1 % reactive energy
- +/- 0.5 % current
- +/- 0.5 % voltage
- +/- 0.01 power factor
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัว PM2230 ลูกค้าสามารถสอบถามเพิ่่มเติมได้ที่ตัวแทนจำหน่าย Schneider Electric (Thailand) หรือที่ บริษัท เทคซอร์ส กรุ๊ป จำกัด และผ่านช่องทาง Application Line หรือติดตาม Facebook Page ตามลิงค์ด้านล่างนี้นะคะ
![]() |
DOWNLOAD Power Meter PM2230 Quick Guide Installation |
ขนาดของ Power Meter EasyLogic Schneider รุ่น PM2230 (Dimension)
จากรูปด้านล่างเป็นขนาดของหน้าจอเครื่องวัดพลังงาน และระยะห่างระหว่างมิเตอร์แต่ละตัว ที่เหมาะสมกับการติดตั้งบนหน้าตู้คอนโทรล
การเจาะหน้าตู้คอนโทรลเพื่อติดตั้งและยึดตัว Power Meter EasyLogic Schneider รุ่น PM2230 (Panel Cut Out)
หลายๆ ครั้งการเจาะรูเพื่อติดตั้งตัวมิเตอร์ที่หน้าตู้คอนโทรลมีความผิดพลาดเนื่องจากใหญ่เกินไป เพราะดูค่าขนาดของหน้าจอแสดงผล ซึ่งสิ่งที่ถูกต้องคือการอ่านค่าขนาดรูเจาะ (Panel Cut Out) จากคู่มือการติดตั้ง หรือจากรูปด้านล่างเป็นขนาดของรูเจาะ และวิธีการจับยึดตัวมิเตอร์เข้ากับประตูของตู้คอนโทรล