ประเภทของเครื่องชั่งน้ำหนัก (Weighing Scale) มีแบบไหนบ้าง มาดูกัน
เครื่องชั่งน้ำหนักหรือ Weighing Scale นั้นมีใช้กันมานานตั้งแต่ในอดีต จนถึงปัจจุบัน เพื่อใช้ในการหาค่าปริมาณทางฟิสิกส์ ซึ่งก็คือมวล โดยเราสามารถแบ่งเครื่องชั่งน้ำหนักเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามหลักการทำงานได้ ได้ดังนี้
- เครื่องชั่งระบบแมคคานิกส์ (Mechanical Scale) หรือเครื่องชั่งแบบไม่ใช้ไฟฟ้า โดยใช้หลักการของคานถ่วงดุลน้ำ
หนัก หลักการของสปริง เพื่อให้เกิดแรงกดหรือแรงดึงแล้ วเปลี่ยนเป็นน้ำหนักของวัตถุที่ ชั่งมาแสดงที่ค่าหน้าจอโดยการส่งผ่านแรงทางกล หรืออาศัยกลไกต่างๆ ภายใน เช่น เครื่องชั่งแบบเข็ม เครื่องชั่งสปริง เครื่องชั่ งคานเลื่อน เครื่องชั่งแขวน มีข้อดีคือมีความทนทาน ราคาไม่แพงมาก (ขึ้นอยู่กับความแม่นยำ) ใช้งานง่าย ไม่จำเป็นต้องตั้งค่าอะไรมาก แต่อย่างไรก็ตาม เครื่องชั่งแบบนี้จะมีความละเอียดไม่สูงมากนัก เนื่องจากมีข้อจำกัดในการแสดงผลแบบสเกล และค่า Uncertainty of Measurement - เครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Scales) เป็นเครื่องชั่งที่ใช้
ระบบไฟฟ้าในการทำงาน มีความเที่ยงตรงสูง สามารถเชื่อต่อข้อมูลกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ เครื่องชั่งแบบนี้มีประกอบด้วย 2 ส่วนหลักๆ คือ - Load Cell โหลดเซลล์จะทำหน้าที่เป็นตัวรั
บแรงกดแล้วส่งสัญญาณ Analog หรือ Digital ออกไปยังส่วนประมวลผล สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ - โหลดเซลล์แบบ Strain Gauge จะประกอบด้วยตัว Strain Gauge และ Resister ต่อกันเป็นวงจร Bridge เมื่อวางวัตถุบนเครื่องชั่ง ค่าความต้านทานของ Strain Gauge ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งแปรผันตามกับแรงที่มากระทำในลักษณะที่เป็นเชิงเส้น เพื่อสามารถส่งสัญญาณไปยังส่วนประมวลผล ซึ่งภายในประกอบไปด้วยวงจร Instrumentation Amplifier ทำหน้าที่อ่านค่า การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ โหลดเซลล์แบบ Strain Gauge เหมาะสำหรับงานความละเอียดต่ำ นิยมนำมาติดตั้งในเครื่องชั่งอุ
ตสาหกรรม เช่น เครื่องชั่งวางพื้น เครื่องชั่ งตั้งโต๊ะ เครื่องชั่งขนาดเล็ก เครื่องชั่งกันน้ำ เครื่องชั่ งนับจำนวน เครื่องชั่งพกพา เป็นต้น - โหลดเซลล์แบบ Electromagnetic Force มีราคาแพง มีความละเอียดสูง ความแม่
นยำและเที่ยงตรงสูงกว่า Strain Gauge จึงนิยมนำมาติดตั้งในเครื่องชั่ งความละเอียดสูง เช่น เครื่องชั่งเพชร เครื่องชั่ งพลอย เครื่องชั่งอัญมณี เครื่ องชั่งทอง เป็นต้น
- โหลดเซลล์แบบ Strain Gauge จะประกอบด้วยตัว Strain Gauge และ Resister ต่อกันเป็นวงจร Bridge เมื่อวางวัตถุบนเครื่องชั่ง ค่าความต้านทานของ Strain Gauge ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งแปรผันตามกับแรงที่มากระทำในลักษณะที่เป็นเชิงเส้น เพื่อสามารถส่งสัญญาณไปยังส่วนประมวลผล ซึ่งภายในประกอบไปด้วยวงจร Instrumentation Amplifier ทำหน้าที่อ่านค่า การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ โหลดเซลล์แบบ Strain Gauge เหมาะสำหรับงานความละเอียดต่ำ นิยมนำมาติดตั้งในเครื่องชั่งอุ
- Load Cell Indicator หน้าจอสำหรับอ่านค่าน้ำหนักหรือจอแสดงผล โดยทำหน้าที่รับสัญญาณจากตัว Load Cell Sensor และมีหน้าที่ประมวลผลของสัญญาณที่
ส่งออกมาจากโหลดเซลล์ ให้เป็นตัวเลขแสดงค่าของน้ำหนั กที่ชั่งบนหน้าจอแสดงผล สามารถตั้งค่าความละเอียดในการวัด หรือค่าชดเชยต่างๆ ได้
- Load Cell โหลดเซลล์จะทำหน้าที่เป็นตัวรั